ຊ່ອຍ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɟuəjᴮ⁴, จากจีนยุคกลาง 助 (MC dzrjoH); ร่วมเชื้อสายกับไทย ช่วย, คำเมือง ᨩ᩠ᩅ᩠᩵ᨿ (ชว่ย) หรือ ᨩᩬ᩠᩵ᨿ (ชอ่ย), อีสาน ซอย, ไทลื้อ ᦋᦾᧈ (ช่อ̂ย), ไทดำ ꪋ꪿ꪮꪥ (จ่̱อย), ไทใหญ่ ၸွႆႈ (จ้อ̂ย), ไทใต้คง ᥓᥩᥭ (จอ̂ย), พ่าเก ꩡွႝ (จอ̂ย์), อาหม 𑜋𑜨𑜩 (ฉอ̂ย์) หรือ 𑜋𑜢𑜤𑜐𑜫 (ฉึญ์), ปักษ์ใต้ ฉวย
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [sɔːj˧]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [sɔːj˧˨]
- การแบ่งพยางค์: ຊ່ອຍ
- สัมผัส: -ɔːj
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/ɔːj
- คำหลักภาษาลาว
- คำกริยาภาษาลาว