ຊ້າງ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาลาว[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ɟaːŋꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง 象 (MC zɨɐŋX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ช้าง, ภาษาคำเมือง ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ (ช้าง), ภาษาอีสาน ซ่าง, ภาษาไทลื้อ ᦋᦱᧂᧉ (ช้าง), ภาษาไทดำ ꪋ꫁ꪱꪉ (จ้̱าง), ภาษาไทใหญ่ ၸၢင်ႉ (จ๎าง), ภาษาไทใต้คง ᥓᥣᥒᥳ (จ๎าง), ภาษาอาหม 𑜋𑜂𑜫 (ฉง์), ภาษาจ้วง ciengh, , ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง cangx,ภาษาแสก ซาง
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [saːŋ˥˨]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [saːŋ˧˦]
- การแบ่งพยางค์: ຊ້າງ
- สัมผัส: -aːŋ
คำนาม[แก้ไข]
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/aːŋ
- คำหลักภาษาลาว
- คำนามภาษาลาว
- คำนามภาษาลาวที่ใช้คำลักษณนาม ໂຕ
- คำนามภาษาลาวที่ใช้คำลักษณนาม ເຊືອກ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีตัวอย่างการใช้
- ภาษาลาว:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม