ຜູກ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰuːkᴰ¹ᴸ, จากภาษาไทดั้งเดิม *cm̩.rukᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ผูก, ภาษาคำเมือง ᨹᩪᨠ (ผูก), ภาษาเขิน ᨹᩪᨠ (ผูก), ภาษาไทลื้อ ᦕᦳᧅᧈ (ผุ่ก), ภาษาไทขาว ꪞꪴꪀ, ภาษาไทใหญ่ ၽုၵ်ႇ (ผุ่ก), ภาษาพ่าเก ၸုက် (ผุก์), ภาษาอาหม 𑜇𑜤𑜀𑜫 (ผุก์)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [pʰuːk̚˧˩]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [pʰuːk̚˥˥˨]
- การแบ่งพยางค์: ຜູກ
- สัมผัส: -uːk̚
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/uːk̚
- คำหลักภาษาลาว
- คำกริยาภาษาลาว
- คำสกรรมกริยาภาษาลาว