ວຽງ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษาเขมรเก่า វាង៑ (วางฺ), វាង្ង៑ (วางฺงฺ), វង៑ (วงฺ), จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *wa(a)ŋ[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩅ᩠ᨿᨦ (วยง), ภาษาไทย เวียง, ภาษาไทใหญ่ ဝဵင်း (เว๊ง), ภาษาไทใต้คง ᥝᥥᥒᥰ (เว๊ง); ร่วมรากกับ ວົງ (ว็ง) and ວັງ (วัง)
ภาษาเขมร វៀង (เวียง) คือคำที่ยืมกลับไปจาก "เวียง" ที่เป็นภาษาไทยหรือลาว
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ʋiːə̯ŋ˧˥]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ʋiːə̯ŋ˩˨]
- การแบ่งพยางค์: ວຽງ
- สัมผัส: -iːə̯ŋ
คำนาม
[แก้ไข]ວຽງ • (วย̂ง)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Shorto, H. A Mon-Khmer Comparative Dictionary, Ed. Paul Sidwell, 2006. Entry 767. p. 233