ໝໍ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ล้าสมัย) ຫມໍ (หมํ)
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmɔːᴬ¹ (“หมอผี”), จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmoːᴬ (“หมอผี”), จากภาษาจีนเก่า 巫 (OC *ma); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หมอ, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩬᩴ (หมอํ), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩳ (หมอ), ภาษาไทลื้อ ᦖᦸ (หฺมอ̂), ภาษาไทดำ ꪢꪷ (หฺมํ), ภาษาไทใหญ่ မေႃ (มอ̂), ภาษาไทใต้คง ᥛᥨᥝᥴ (โม๋ว), ภาษาอาหม 𑜉𑜦𑜡 (มอ̂), 𑜈𑜦𑜡 (บอ̂), หรือ 𑜈𑜨𑜦𑜡 (บฺวอ̂), ภาษาจ้วง mo (ในคำ bohmo), ภาษาจ้วงแบบหนง moa
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [mɔː˩(˧)]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [mɔː˥˧˧]
- การแบ่งพยางค์: ໝໍ
- สัมผัส: -ɔː
คำนาม
[แก้ไข]การใช้
[แก้ไข]มักใช้ กับ ແພດ (แพด) เป็น ແພດໝໍ (แพทย์หมอ) หากหมายถึงหมอรักษาโรค (แพทย์) ซึ่งแตกต่างกับ หมอผี หรือ หมอลำ เป็นต้น
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/ɔː
- คำหลักภาษาลาว
- คำนามภาษาลาว
- คำนามภาษาลาวที่ใช้คำลักษณนาม ຄົນ