ᦖᦸ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmɔːᴬ¹ (“หมอผี”), จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmoːᴬ (“หมอผี”), จากภาษาจีนเก่า 巫 (OC *ma); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หมอ, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩬᩴ (หมอํ), ภาษาลาว ໝໍ (หมํ), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩳ (หมอ), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩳ (หมอ), ภาษาไทใหญ่ မေႃ (มอ̂), ภาษาไทใต้คง ᥛᥨᥝᥴ (โม๋ว), ภาษาอาหม 𑜉𑜦𑜡 (มอ̂), 𑜈𑜦𑜡 (บอ̂), หรือ 𑜈𑜨𑜦𑜡 (บฺวอ̂), ภาษาจ้วง mo (ในคำ bohmo), ภาษาจ้วงแบบหนง moa
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /mɔː˥/
คำนาม
[แก้ไข]ᦖᦸ (หฺมอ̂) (อักษรไทธรรม ᩉ᩠ᨾᩬᩳ)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ᦖᦸ (หฺมอ̂) (อักษรไทธรรม ᩉ᩠ᨾᩬᩳ, คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦖᦸ)
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (เก่ง) ᦋᦱᧂᧈ (ช่าง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทลื้อ
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่