ၼီ
หน้าตา
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /niː˨˦/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺน๋ี
- สัมผัส: -iː
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰniːᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับไทย หนี, อีสาน หนี, ลาว ໜີ (หนี), คำเมือง ᩉ᩠ᨶᩦ (หนี), เขิน ᩉ᩠ᨶᩦ (หนี), ไทลื้อ ᦐᦲ (หฺนี), ไทดำ ꪘꪲ (หฺนิ), ไทใต้คง ᥘᥤᥴ (ลี๋, “ย้าย, อพยพ”), อาหม 𑜃𑜣 (นี)
คำกริยา
[แก้ไข]ၼီ • (นี) (คำอาการนาม လွင်ႈၼီ)
- (ร้อยกรอง, อกรรม) หนี (เช่นหนีจากที่อาศัยอยู่)
- (ร้อยกรอง, อกรรม) ไป
- (ร้อยกรอง, อกรรม) อพยพ, ย้ายถิ่น
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากพม่า နှစ် (หฺนจ์); เทียบจีนยุคกลาง 年 (MC nen); ร่วมรากกับ ၼီႈ (นี้)
คำนาม
[แก้ไข]ၼီ • (นี)
อ้างอิง
[แก้ไข]- SEAlang library Shan lexicography. SEAlang Projects. http://sealang.net/shan/dictionary.htm
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/iː
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- คำกริยาภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- คำอกรรมกริยาภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ยืมมาจากภาษาพม่า
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาพม่า
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ร่วมราก
- คำนามภาษาไทใหญ่