ᥘᥩᥭ
หน้าตา
ภาษาไทใต้คง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /lɔj˧˧/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.doːjᴬ (“ภูเขา”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอย, ภาษาลาว ດອຍ (ดอย), ภาษาคำเมือง ᨯᩬ᩠ᨿ (ดอย), ภาษาเขิน ᨯᩭ (ดอย), ภาษาไทลื้อ ᦡᦾ (ดอ̂ย), ภาษาไทใหญ่ လွႆ (ลอ̂ย), ภาษาอาหม 𑜓𑜨𑜩 (ดอ̂ย์) หรือ 𑜓𑜨𑜩𑜐𑜫 (ดอ̂ย์ญ์), ภาษาจ้วง ndoi
คำนาม
[แก้ไข]ᥘᥩᥭ (ลอ̂ย) (อักขรวิธี 1963 ᥘᥩᥭ)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอย (“ผูก เช่น ดอยศพ”), ภาษาอีสาน ดอย, ภาษาลาว ດອຍ (ดอย, “เอาศพหันหัวไปทางทิศตะวันตกแล้วเอาผ้าคลุมไว้”), ภาษาไทใหญ่ လွႆ (ลอ̂ย, “เตรียมศพเพื่อฝัง”)
คำกริยา
[แก้ไข]ᥘᥩᥭ (ลอ̂ย) (อักขรวิธี 1963 ᥘᥩᥭ)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ᥘᥩᥭ (ลอ̂ย) (อักขรวิธี 1963 ᥘᥩᥭ)
อ้างอิง
[แก้ไข]- Luo, Y. (1999). A dictionary of Dehong, Southwest China. The Australian National University, Research School of Pacific and Asian Studies, Pacific Linguistics.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใต้คงที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทใต้คงที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใต้คงที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- คำหลักภาษาไทใต้คง
- คำนามภาษาไทใต้คง
- ภาษาไทใต้คง terms with redundant head parameter
- คำกริยาภาษาไทใต้คง
- คำสกรรมกริยาภาษาไทใต้คง
- การร้องขอรากศัพท์ในรายการภาษาไทใต้คง
- คำอกรรมกริยาภาษาไทใต้คง