ᦌᦱᧉ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /saː˩/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊ້າ (ซ้า), ภาษาคำเมือง ᨪ᩶ᩣ (ซ้า), ภาษาเขิน ᨪᩣ᩶ (ซา้), ภาษาไทใหญ่ သႃႉ (ส๎า), ภาษาจ้วง sax (ซ้า-ตะกร้า), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง sax (ซ้า-ตะกร้า)
คำนาม
[แก้ไข]ᦌᦱᧉ (ซ้า) (คำลักษณนาม ᦐᦽᧈ)
ลูกคำ
[แก้ไข]ตะกร้า
- ᦌᦱᧉᦌᦸᧂ (ซ้าซอ̂ง)
- ᦌᦱᧉᦌᦸᧂᦙᦸᧂᦠᦱᧂᧈ (ซ้าซอ̂งมอ̂งห่าง)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦌᦸᦌᦱᧉᦷᦜᧂ (ซอ̂ซ้าโหฺลง)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ သႃႉ (ส๎า); อาจมาจากภาษาพม่า ဆ (ฉ)
คำกริยา
[แก้ไข]ᦌᦱᧉ (ซ้า) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦌᦱᧉ)
ลูกคำ
[แก้ไข]ตรวจ
- ᦂᦱᧃᦌᦱᧉᦶᦋᧆ (กานซ้าแชด)
- ᦌᦱᧉᦶᦋᧆ (ซ้าแชด)
- ᦌᦱᧉᦶᦋᧆᦷᦂᧆᧈᦑᦸᧂᦰ (ซ้าแชดโก่ดทอ̂งะ)
- ᦌᦱᧉᦶᦋᧆᦋᧄᦟᦰ (ซ้าแชดชัมละ)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦌᦱᧉᦶᦋᧆᦑᦸᧂᦰ (ซ้าแชดทอ̂งะ)
- ᦌᦱᧉᦑᦸᧂᦰ (ซ้าทอ̂งะ)
- ᦟᦴᧈᦙᦱᧉᦌᦱᧉᦷᦆ (ลู่ม้าซ้าโฅ)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำนามภาษาไทลื้อที่ใช้คำลักษณนาม ᦐᦽᧈ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/l
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่ยืมมาจากภาษาพม่า
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาพม่า
- คำกริยาภาษาไทลื้อ
- คำกริยาภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำสกรรมกริยาภาษาไทลื้อ