ꪑꪲꪉ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทดำ[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ɲiŋ˥]
- การแบ่งพยางค์: ꪑꪲꪉ
- สัมผัส: -iŋ
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰɲiŋᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หญิง, ภาษาลาว ຍິງ (ย̰ิง), ภาษาอีสาน ญิง, ภาษาคำเมือง ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), ภาษาเขิน ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), ภาษาไทลื้อ ᦍᦲᧂ (ยีง), ภาษาไทใหญ่ ယိင်း (ยิ๊ง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥤᥒᥰ (ยี๊ง), ภาษาอาหม 𑜐𑜢𑜂𑜫 (ญิง์)
คำนาม[แก้ไข]
ꪑꪲꪉ (ญิง)
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ɲɯŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ยิง, ภาษาลาว ຍິງ (ย̰ิง), ภาษาอีสาน ยิง, ภาษาคำเมือง ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), ภาษาเขิน ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), ภาษาไทใหญ่ ယိူင်း (เยิ๊ง, “เล็ง”), ภาษาไทใต้คง ᥕᥥᥒᥰ (เย๊ง, “เล็ง”) หรือ ᥕᥫᥒᥰ (เย๊อ̂ง, “เล็ง”), ภาษาอาหม 𑜊𑜢𑜤𑜂𑜫 (ยึง์, “เล็ง”), ภาษาจ้วง nyingz หรือ ningz, ภาษาแสก ญิ๊ง
คำกริยา[แก้ไข]
ꪑꪲꪉ (ญิง)
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
- ꪵꪚ꪿ꪙ (แบ่น, “ยิง”)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทดำที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทดำที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาไทดำ/iŋ
- ภาษาไทดำ:สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ภาษาไทดำ:รากศัพท์จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทดำ
- คำนามภาษาไทดำ
- ภาษาไทดำ:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทดำ:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- คำกริยาภาษาไทดำ
- คำสกรรมกริยาภาษาไทดำ