ယိူင်း
หน้าตา
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /jɤŋ˥/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺย๊+เ-ิง
- สัมผัส: -ɤŋ
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɲɯŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ยิง, ลาว ຍິງ (ยิง), อีสาน ยิง, คำเมือง ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), เขิน ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), ไทดำ ꪑꪲꪉ (ญิง, “เล็ง”), ไทใต้คง ᥕᥥᥒᥰ (เย๊ง, “เล็ง”) หรือ ᥕᥫᥒᥰ (เย๊อ̂ง, “เล็ง”), อาหม 𑜊𑜢𑜤𑜂𑜫 (ยึง์, “เล็ง”), จ้วง nyingz หรือ ningz, แสก ญิ๊ง
คำกริยา
[แก้ไข]ယိူင်း • (เยิ๊ง) (คำอาการนาม လွင်ႈယိူင်း)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากจีนยุคกลาง 羊 (MC yang, “แพะ”); ร่วมเชื้อสายกับไทย เยือง, ลาว ເຍືອງ (เยือง), คำเมือง ᨿᩮᩬᩥᨦ (เยอิง), เขิน ᨿᩮᩨ᩠ᨦ (เยืง), ไทลื้อ ᦵᦍᦲᧂ (เยีง)
คำนาม
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/ɤŋ
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- คำกริยาภาษาไทใหญ่
- ไทใหญ่ entries with incorrect language header
- คำสกรรมกริยาภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำนามภาษาไทใหญ่
- คำนามภาษาไทใหญ่ที่ใช้คำลักษณนาม တူဝ်
- shn:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม