𑜁𑜤𑜃𑜫
หน้าตา
ภาษาอาหม
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]จากภาษาจีนยุคกลาง 君 (MC kjun); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขุน, ภาษาคำเมือง ᨡᩩᩁ (ขุร), ภาษาลาว ຂຸນ (ขุน), ภาษาไทลื้อ ᦃᦳᧃ (ฃุน), ภาษาไทใหญ่ ၶုၼ် (ขุน), ภาษาไทใต้คง ᥑᥧᥢᥴ (ฃู๋น); เทียบภาษาเขมรเก่า ខុណ (ขุณ), ภาษาเขมร ខុន (ขุน) และ ឃុន (ฆุน)
คำนาม
[แก้ไข]𑜁𑜤𑜃𑜫 • (ขุน์)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]𑜁𑜤𑜃𑜫 • (ขุน์)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *q.pɯlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขน, ภาษาลาว ຂົນ (ข็น), ภาษาไทลื้อ ᦃᦳᧃ (ฃุน), ภาษาไทดำ ꪶꪄꪙ (โฃน), ภาษาไทใหญ่ ၶူၼ် (ขูน), ภาษาอ่ายตน ၵုꩫ် (ขุน์), ภาษาปู้อี benl, ภาษาจ้วง bwn, ,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง koen-ขน, ภาษาจ้วงแบบหนง koan, ภาษาแสก ปุ๋น
คำนาม
[แก้ไข]𑜁𑜤𑜃𑜫 • (ขุน์)