ขน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ขน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kǒn |
ราชบัณฑิตยสภา | khon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰon˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *q.pɯlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂົນ (ข็น), ภาษาไทลื้อ ᦃᦳᧃ (ฃุน), ภาษาไทดำ ꪶꪄꪙ (โฃน), ภาษาไทใหญ่ ၶူၼ် (ขูน), ภาษาอ่ายตน ၵုꩫ် (ขุน์), ภาษาอาหม 𑜁𑜤𑜃𑜫 (ขุน์), ภาษาปู้อี benl, ภาษาจ้วง bwn, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง koen (“ขน”), ภาษาจ้วงแบบหนง koan, ภาษาแสก ปุ๋น
คำนาม
[แก้ไข]ขน (คำลักษณนาม เส้น)
- สิ่งที่เป็นเส้นขึ้นตามผิวหนังคนและสัตว์ และใช้ตลอดไปจนถึงที่ขึ้นบนผิวต้นไม้ ผลไม้ ใบไม้ และอื่น ๆ, ราชาศัพท์ว่า พระโลมา
- ขนตา
- ขนนก
- ขนเม่น
คำพ้องความ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]สิ่งที่เป็นเส้นขึ้นตามผิว
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂົນ (ข็น), ภาษาแสก ขุ่น,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง konz, ภาษาจ้วง gonz
คำกริยา
[แก้ไข]ขน (คำอาการนาม การขน)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ขน
- (หญ้า~) ชื่อหญ้าชนิด Brachiaria mutica (Forssk.) Stapf ในวงศ์ Gramineae ขึ้นในที่ชื้นและชายน้ำ ข้อ กาบใบ และใบมีขน ใช้เป็นอาหารสัตว์, ปล้องขน ก็เรียก
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/on
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม เส้น
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- อังกฤษ translations
- คำกริยาภาษาไทย
- th:กายวิภาคศาสตร์
- th:พืช
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำอกรรมกริยาภาษาคำเมือง