ขุ่น
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 混 (MC hwonX)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂຸ່ນ (ขุ่น), ภาษาไทใหญ่ ၶုၼ်ႇ (ขุ่น); เทียบภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง goenj
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ขุ่น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kùn |
ราชบัณฑิตยสภา | khun | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰun˨˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ขุ่น (คำอาการนาม ความขุ่น)
ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]คำสรรพนาม
[แก้ไข]ขุ่น
คำพ้องความ
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- “ขุ่น” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 9
ภาษาแสก
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ขุ่น
- ขุ่น (มัว)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขน, ภาษาลาว ຂົນ (ข็น)
คำกริยา
[แก้ไข]ขุ่น
- ขน (ย้าย)
- ↑ Pittayaporn, P. (2014). Layers of Chinese loanwords in proto-southwestern Tai as evidence for the dating of the spread of southwestern Tai. Manusya J Humanit, 20, 47-68.