𑜏𑜥
ภาษาอาหม
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *suːᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สู, ภาษาคำเมือง ᩈᩪ (สู), ภาษาอีสาน สู, ภาษาลาว ສູ (สู), ภาษาไทลื้อ ᦉᦴ (สู), ภาษาไทดำ ꪎꪴ (สุ), ภาษาไทใหญ่ သူ (สู), ภาษาไทใต้คง ᥔᥧᥴ (สู๋), ภาษาจ้วง sou
คำสรรพนาม
[แก้ไข]𑜏𑜥 • (สู)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสื้อ, ภาษาคำเมือง ᩈᩮᩬᩥ᩶ᩋ (เสอิ้อ), ภาษาลาว ເສື້ອ (เสื้อ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉᦲᧉ (เสี้), ภาษาไทดำ ꪹꪎ꫁ (เส้), ภาษาไทใหญ่ သိူဝ်ႈ (เสิ้ว)
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์)
คำนาม
[แก้ไข]𑜏𑜥 • (สู)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]เทียบภาษาพม่า ဆု (ฉุ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨪᩪ (ซู), ภาษาไทใหญ่ သူး (สู๊), ภาษาไทใต้คง ᥔᥧᥰ (สู๊)
คำนาม
[แก้ไข]𑜏𑜥 • (สู)
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *sɯəᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสือ, ภาษาคำเมือง ᩈᩮᩬᩥᩋ (เสอิอ), ภาษาลาว ເສືອ (เสือ), ภาษาเขิน ᩈᩮᩬᩧ (เสอึ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉᦲ (เสี), ภาษาไทดำ ꪹꪎ (เส), ภาษาไทใหญ่ သိူဝ် (เสิว), ภาษาไทใต้คง ᥔᥫᥴ (เส๋อ̂), ภาษาอ่ายตน ꩬိုဝ် (สึว์); เทียบภาษาเบดั้งเดิม *ʑuaᴬ¹
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์)
คำนาม
[แก้ไข]𑜏𑜥 • (สู)
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- 𑜎𑜆𑜫 (ลป์)