เสือ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *sɯəᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩮᩬᩥᩋ (เสอิอ), ภาษาลาว ເສືອ (เสือ), ภาษาเขิน ᩈᩮᩬᩧ (เสอึ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉᦲ (เสี), ภาษาไทดำ ꪹꪎ (เส), ภาษาไทใหญ่ သိူဝ် (เสิว), ภาษาไทใต้คง ᥔᥫᥴ (เส๋อ̂), ภาษาอ่ายตน ꩬိုဝ် (สึว์), ภาษาพ่าเก ꩬိုဝ် (สึว์), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์) หรือ 𑜏𑜥 (สู); เทียบภาษาเบดั้งเดิม *ʑuaᴬ¹, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง swe (เสือ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เสือ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sʉ̌ʉa |
ราชบัณฑิตยสภา | suea | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɯa̯˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เสือ (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว แต่ตัวใหญ่กว่า เป็นสัตว์กินเนื้อ หากินเวลากลางคืน มีหลายชนิด
- โจร
- ไอ้เสือแดงปล้นฆ่ามามากมายเหลือเกิน
- โดยปริยายใช้เรียกคนเก่ง คนดุร้าย
- ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี 1 ดวง
- ชื่อปลาหลายชนิดและหลายวงศ์ซึ่งมีลายพาดขวางลำตัว เช่น เสือพ่นน้ำ (Toxotes jaculator) ในวงศ์ Toxotidae เสือตอ (Datnioides microlepis) ในวงศ์ Lobotidae
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (1) พยัคฆ์, วยัคฆ์
- (4) ดาวจิตรา, ดาวต่อมน้ำ, ดาวตาจระเข้, ดาวไต้ไฟ
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในวงศ์ Felidae
|
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sɯa˨˦/
คำนาม
[แก้ไข]เสือ (คำลักษณนาม ตั๋ว)
- อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩮᩬᩥᩋ (เสอิอ)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- อังกฤษ translations
- th:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำนามภาษาคำเมืองที่ใช้คำลักษณนาม ตั๋ว