หมู่
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʰmuːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩪ᩵ (หมู่), ลาว ໝູ່ (หมู่), ไทลื้อ ᦖᦴᧈ (หฺมู่), ไทดำ ꪢꪴ꪿ (หฺมุ่), ไทใหญ่ မူႇ (มู่), ไทใต้คง ᥛᥧᥱ (มู่), พ่าเก မူ (มู), อาหม 𑜉𑜥 (มู), จ้วง muq, ตั่ย mú
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺมู่ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mùu |
ราชบัณฑิตยสภา | mu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /muː˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]หมู่
- กลุ่มชนิดเดียวกัน, พวกชนิดเดียวกัน (คำลักษณนาม หมู่)
- หมู่ดาว
- หมู่เมฆ
- หมู่มนุษย์
- หมู่โจร
- กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น ที่มีจำนวนไม่เกิน 10 คน (คำลักษณนาม หมู่)
- ระยะเวลา
- หมู่นี้สุขภาพไม่ค่อยดี
- หมู่นั้นไม่ว่าง
- คอแดง, ชื่องูลายสาบชนิด Rhabdophis subminiatus ในวงศ์ Colubridae ตัวสีเขียวหรือเทา คอสีแดง ออกหากินเวลากลางวัน มีพิษอ่อน (คำลักษณนาม ตัว)
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /muː˨˩/
คำนาม
[แก้ไข]หมู่
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾᩪ᩵ (หมู่)
ภาษาแสก
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʰmuːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย หมู, คำเมือง ᩉ᩠ᨾᩪ (หมู), ลาว ໝູ (หมู), ไทลื้อ ᦖᦴ (หฺมู), ไทดำ ꪢꪴ (หฺมุ), ไทใต้คง ᥛᥧᥴ (มู๋), ไทใหญ่ မူ (มู), อาหม 𑜉𑜥 (มู), จ้วง mou, ปู้อี mul
คำนาม
[แก้ไข]หมู่
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หมู่
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม หมู่
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- th:งู
- th:การทหาร
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาแสกที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาแสก
- คำนามภาษาแสก
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน