คาน
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ค้าน
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɢaːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨣᩤ᩠ᨶ (คาน), เขิน ᨣᩤ᩠ᨶ (คาน), ลาว ຄານ (คาน), ไทลื้อ ᦅᦱᧃ (คาน), ไทใหญ่ ၵၢၼ်း (ก๊าน), ไทใต้คง ᥐᥣᥢᥰ (ก๊าน), พ่าเก ကꩫ် (กน์), อาหม 𑜀𑜃𑜫 (กน์), จ้วงแบบหนง ganz; เทียบจีนยุคกลาง 竿 (MC kan) หรือจีนเก่า ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:och-pron บรรทัดที่ 56: attempt to call upvalue 'safe_require' (a nil value)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | คาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kaan |
ราชบัณฑิตยสภา | khan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰaːn˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ฆาน |
คำนาม
[แก้ไข]คาน
- เครื่องเรือนที่ยึดเสาและรองตง ทำด้วยไม้ เป็นต้น
- ไม้ทำอย่างรอดสำหรับรองรับของหนัก
- คานเรือ
- ไม้สำหรับหาบหรือหามสิ่งของต่าง ๆ
- ภาวะเป็นโสดของหญิงที่มีอายุเกินวัยแต่งงาน
- เมื่อไรเธอจะลงจากคานเสียที
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (4) คานทอง
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]คำเกี่ยวข้อง
คำกริยา
[แก้ไข]คาน (คำอาการนาม การคาน)
- รองรับหรือเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งรองรับของหนักขึ้นไว้
- ถ่วงน้ำหนักกัน
- อำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติกับอำนาจของฝ่ายบริหารคานกัน
- ค้านกัน, ยังตกลงกันไม่ได้
อ้างอิง
[แก้ไข]- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 32.