จีวร
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต चीवर (จีวร, “ผ้า”) หรือภาษาบาลี จีวร (“ผ้า”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {เสียงพยัญชนะซ้ำ} | จี-วอน | [เสียงสมาส] จี-วอน-ระ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jii-wɔɔn | jii-wɔɔn-rá- |
ราชบัณฑิตยสภา | chi-won | chi-won-ra- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕiː˧.wɔːn˧/(สัมผัส) | /t͡ɕiː˧.wɔːn˧.ra˦˥./ |
คำนาม
[แก้ไข]จีวร (คำลักษณนาม ผืน)
- (ศาสนาพุทธ) เครื่องนุ่งห่มของภิกษุสามเณร (โดยรวม)
- (ศาสนาพุทธ) ผ้าสำหรับห่มของภิกษุสามเณร, คู่กับ สบง
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (เครื่องนุ่งห่ม): กาสาวพัสตร์, ผ้าเหลือง
- (ผ้าสำหรับห่ม): อุตราสงค์
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาสันสกฤต चीवर (จีวร)
คำนาม
[แก้ไข]จีวร ก.
- ผ้า (ทุกชนิด)
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "จีวร" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | จีวรํ | จีวรานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | จีวรํ | จีวรานิ |
กรณการก (ตติยา) | จีวเรน | จีวเรหิ หรือ จีวเรภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | จีวรสฺส หรือ จีวราย หรือ จีวรตฺถํ | จีวรานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | จีวรสฺมา หรือ จีวรมฺหา หรือ จีวรา | จีวเรหิ หรือ จีวเรภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | จีวรสฺส | จีวรานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | จีวรสฺมิํ หรือ จีวรมฺหิ หรือ จีวเร | จีวเรสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | จีวร | จีวรานิ |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ผืน
- th:ศาสนาพุทธ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่สืบทอดจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย