ข้ามไปเนื้อหา

ตฤตียาวิภักติ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

ยืมโดยเรียนรู้จากภาษาสันสกฤต तृतीया विभक्ति (ตฺฤตียา วิภกฺติ)

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ตฺริ-ตี-ยา-วิ-พัก-ติ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtrì-dtii-yaa-wí-pák-dtì
ราชบัณฑิตยสภาtri-ti-ya-wi-phak-ti
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tri˨˩.tiː˧.jaː˧.wi˦˥.pʰak̚˦˥.tiʔ˨˩/(สัมผัส)

คำนาม

[แก้ไข]

ตฤตียาวิภักติ

  1. (ไวยากรณ์) วิภักติที่สามในภาษาสันสกฤต ใช้แสดงเครื่องประกอบการกระทำ ซึ่งไม่ใช่กรรม

การใช้

[แก้ไข]
  • ตัวอย่างประโยค: ตามารถไฟ - ประกอบด้วย
    • ตา ทำหน้าที่เป็นผู้ทำ เรียกว่า ประถมาวิภักติ
    • มา ทำหน้าที่เป็นกริยา เรียกว่า กริยา
    • รถไฟ ทำหน้าที่เป็นเครื่องประกอบการกระทำ เรียกว่า ตฤตียาวิภักติ

คำพ้องความ

[แก้ไข]