ฝุง
หน้าตา
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เทียบภาษาจีนยุคกลาง 縫 (MC bjowng, “เย็บ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຝຸງ (ฝุง), ภาษาคำเมือง ᨺᩩᨦ (ฝุง), ภาษาเขิน ᨺᩩᨦ (ฝุง), ภาษาไทลื้อ ᦚᦳᧂ (ฝุง), ภาษาไทใหญ่ ၽုင် (ผุง) หรือ ၾုင် (ฝุง), ภาษาจ้วง fung (ฝุง-เย็บ ปิด), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง pung (ผุง-เย็บ ปิด)
คำกริยา
[แก้ไข]ฝุง (คำอาการนาม การฝุง)
อ้างอิง
[แก้ไข]- เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2552). "รายการคำศัพท์ภาษาไทยถิ่นอีสานที่คาดว่าจะเป็นคำศัพท์ร่วมเชื้อสายตระกูลไท–จีน." วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [1]