รอย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | รอย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | rɔɔi |
ราชบัณฑิตยสภา | roi | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /rɔːj˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rwuːjᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ฮอย, ภาษาลาว ຮອຍ (ฮอย), ภาษาคำเมือง ᩁᩬ᩠ᨿ (รอย), ภาษาเขิน ᩁᩭ (รอย), ภาษาไทลื้อ ᦣᦾ (ฮอ̂ย), ภาษาไทใหญ่ ႁွႆး (ห๊อ̂ย), ภาษาไทใต้คง ᥞᥩᥭᥰ (ห๊อ̂ย), ภาษาอาหม 𑜍𑜨𑜩 (รอ̂ย์), ภาษาจ้วง riz/soiz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง roiz
คำนาม
[แก้ไข]รอย
- ลักษณะที่เป็นเส้น เป็นริ้ว หรือลวดลายเป็นต้นที่ปรากฏอยู่บนพื้นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
- รอยขีด
- รอยหน้าผากย่น
- รอยพระบาท
- รอยต่อ
- รอยประสาน
- เค้า, เค้าเงื่อน
- แกะรอย
- ตามรอย
- (ในเชิงเปรียบเทียบ) ลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น
- รอยรัก
- ทาง
- มารอยเดียวกัน
คำลักษณนาม
[แก้ไข]รอย
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ฮอย, ภาษาลาว ຮອຍ (ฮอย)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]รอย
ภาษาแสก
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *roːjꟲ (“จำนวนร้อย”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ร้อย, ภาษาอีสาน ฮ่อย, ภาษาลาว ຮ້ອຍ (ฮ้อย), ภาษาไทลื้อ ᦣᦾᧉ (ฮ้อ̂ย), ภาษาไทดำ ꪭ꫁ꪮꪥ (ฮ้อย), ภาษาไทใหญ่ လွႆႉ (ล๎อ̂ย)
เลข
[แก้ไข]รอย
- (หนึ่ง) ร้อย
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำลักษณนามภาษาไทย
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาแสกที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาแสก
- เลขภาษาแสก