ละ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ล่ะ
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ละ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lá |
ราชบัณฑิตยสภา | la | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /laʔ˦˥/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับอีสาน ละ, ลาว ລະ (ละ), คำเมือง ᩃᩡ (ละ) หรือ ᩃ (ล), เขิน ᩃᩡ (ละ), ไทลื้อ ᦟᦰ (ละ); เทียบเขมร លះ (ละ) หรือ ស្រឡះ (สฺรฬะ), มอญ ဗၠး (พฺลห์)
คำกริยา
[แก้ไข]ละ (คำอาการนาม การละ)
- (สกรรม) แยกตัวไปให้พ้นจากสิ่งที่เกี่ยวข้องอยู่
- ละถิ่นฐาน
- ละสังขาร
- (สกรรม) ทิ้ง, ปล่อย, วาง, เลิก
- ละพยศ
- (สกรรม) เว้นว่างคำหรือข้อความโดยใช้ เครื่องหมาย ฯ หรือ ฯลฯ หรือเขียนว่างเป็น จุด ๆ ดังนี้ ... หรือเว้นว่างไว้โดยใช้เครื่องหมาย รูป -"แสดงว่าคำหรือข้อความดังกล่าวซ้ำกับ บรรทัดบน.
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับจ้วงแบบจั่วเจียง lah (ละ, เลอะ, “ละ”)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ละ
- คำประกอบคำนามให้รู้ว่าเป็น หน่วยหนึ่ง ๆ หรือส่วนหนึ่ง ๆ ในจำนวนรวม ซึ่งกำหนดเป็นราย ๆ ไป
- กลุ่มละ 3 คน
- โบนัสปีละ 2 เดือน
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]กร่อนมาจาก แล้ว
คำอนุภาค
[แก้ไข]ละ
- คำประกอบกริยาเพื่อเน้น ความให้มีน้ำหนักหรือเพื่อบอกความแน่นอน
- จบละ
- เลิกละ
- คำใช้ประกอบหน้าคำ ก็ ให้เป็น ละก็ เพื่อเน้นความให้กระชับขึ้น
- ผู้หญิง ละก็ขี้งอนทุกคน
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /laʔ˦˥/
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/m
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำอนุภาคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง