เว้น
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เวน
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເວັ້ນ (เวั้น), ภาษาคำเมือง ᩅᩮ᩠᩶ᨶ (เว้น), ภาษาเขิน ᩅᩮ᩠᩶ᨶ (เว้น), ภาษาไทลื้อ ᦞᦲᧃᧉ (วี้น), ภาษาไทดำ ꪹꪫꪸ꫁ꪙ (เวย้̂น), ภาษาไทใหญ่ ဝဵၼ်ႉ (เว๎น)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | เว็้น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wén |
ราชบัณฑิตยสภา | wen | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /wen˦˥/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เว้น (คำอาการนาม การเว้น)
- (สกรรม) แยกเอาออก (ไม่ให้พัวพันกันอยู่กับสิ่งซึ่งพึงกระทำหรือไม่พึงกระทำ)
- ทำเลขทุกข้อเว้นข้อ 4
- เปิดทุกวันเว้นวันนักขัตฤกษ์
- วันโกนไม่ละวันพระไม่เว้น
การใช้
[แก้ไข]เป็นคำใช้ได้ทั่ว ๆ ไป ถ้าต้องการให้ทราบชัดว่าเว้นด้วยลักษณะไหน ก็เอาคำอื่นซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกันมาประกอบเข้า เช่น งดเว้น ยกเว้น ละเว้น