เงือก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ŋɯəkᴰ (“จระเข้”), จากจีนยุคกลาง 鱷 (MC ngak, “จระเข้”); ร่วมเชื้อสายกับลาว ເງືອກ (เงือก), ไทดำ ꪹꪉꪀ (เงก), ไทใหญ่ ငိူၵ်ႈ (เงิ้ก), ไทใต้คง ᥒᥫᥐ (เงอ̂ก), อาหม 𑜂𑜢𑜤𑜀𑜫 (งึก์), จ้วงแบบหนง ngowg, จ้วงแบบจั่วเจียง ngweg
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เงือก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ngʉ̂ʉak |
ราชบัณฑิตยสภา | ngueak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ŋɯa̯k̚˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เงือก (คำลักษณนาม ตัว)
- (นาง~) สัตว์น้ำในนิยาย เล่ากันว่าท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นปลา
- (นก~) นกในวงศ์ Bucerotidae ส่วนใหญ่ลำตัวสีดำ ปากใหญ่ อยู่รวมกันเป็นฝูงในป่าลึกเวลาบินเสียงดังมาก ขณะตกไข่ตัวเมียจะอยู่ในโพรงไม้ แล้วใช้เศษอาหารและอุจจาระปิดปากโพรงไว้ เหลือรูพอที่ตัวผู้จะหาอาหารมาป้อนให้ขณะกกไข่และเลี้ยงลูกอ่อนได้ ร้องเสียงดังมาก กินเนื้อสัตว์และผลไม้ มีหลายชนิด
- พะยูน
- (โบราณ, ร้อยกรอง) จระเข้
- (โบราณ, ร้อยกรอง) งู
- ท้าวเสด็จเหนือวัวเผือก เอาเงือกเกี้ยวข้าง- ลิลิตโองการแช่งน้ำ
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯k̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:เทพนิยาย
- th:นก