ယဝ်ႉ
หน้าตา
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /jaw˦˨ˀ/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺย้+เ-า
- สัมผัส: -aw
- เย่า (โทสั้น)
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *leːwꟲ (“แล้วเสร็จ”), จากภาษาจีนยุคกลาง 了 (MC lewX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แล้ว, ภาษาลาว ແລ້ວ (แล้ว), ภาษาคำเมือง ᩓ᩠ᩅ (แลว), ภาษาเขิน ᩓ᩠᩶ᩅ (แล้ว) หรือ ᨿᩮᩢ᩶ᩣ (เยั้า), ภาษาไทลื้อ ᧟ (แหฺลว)
คำกริยา
[แก้ไข]ယဝ်ႉ • (ย๎ว) (คำอาการนาม လွင်ႈယဝ်ႉ)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ယဝ်ႉ • (ย๎ว) (คำอาการนาม တၢင်းယဝ်ႉ)
ลูกคำ
[แก้ไข]- ယဝ်ႉတူဝ်ႈ (ย๎วตู้ว, “เสร็จสมบูรณ์”)
- ယဝ်ႉဢွမ်ႈပွမ်ႈ (ย๎วอ้อ̂มป้อ̂ม, “เสร็จสมบูรณ์”)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เย้า, ภาษาลาว ເຍົ້າ (เย็้า), ภาษาคำเมือง ᨿᩮᩢ᩶ᩣ (เยั้า), ภาษาเขิน ᨿᩮᩢ᩶ᩣ (เยั้า)
คำกริยา
[แก้ไข]ယဝ်ႉ • (ย๎ว) (คำอาการนาม လွင်ႈယဝ်ႉ)
ลูกคำ
[แก้ไข]- (เย้า): ယဝ်ႉယွၵ်ႇ (ย๎วย่อ̂ก, “เย้าหยอก”)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/aw
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- คำกริยาภาษาไทใหญ่
- คำอกรรมกริยาภาษาไทใหญ่
- คำสกรรมกริยาภาษาไทใหญ่
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/l