ႁၵ်ႉ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทใหญ่[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *r[a]k; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย รัก, ภาษาลาว ຮັກ (ฮัก), ภาษาอีสาน ฮัก, ภาษาคำเมือง ᩁᩢ᩠ᨠ (รัก), ภาษาเขิน ᩁᩢ᩠ᨠ (รัก), ภาษาไทลื้อ ᦣᧅ (ฮัก), ภาษาไทใต้คง ᥞᥐ (หัก); นอกกลุ่มภาษาไท-กะได: ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร រាក់ (ราก̍)

คำกริยา[แก้ไข]

ႁၵ်ႉ (หั๎ก) (คำอาการนาม လွင်ႈႁၵ်ႉ หรือ တၢင်းႁၵ်ႉ)

  1. รัก

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rakᴰ (รัก); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย รัก, ภาษาลาว ຮັກ (ฮัก), ภาษาคำเมือง ᩁᩢ᩠ᨠ (รัก), ภาษาเขิน ᩁᩢ᩠ᨠ (รัก), ภาษาไทลื้อ ᦣᧅ (ฮัก); เทียบภาษาสันสกฤต लाक्षा (ลากฺษา, พืชสปีชีหนึ่ง)

คำนาม[แก้ไข]

ႁၵ်ႉ (หั๎ก)

  1. ยางของต้นรัก, รัก (ไม้ต้น)