ᦉᦲᧃᧉ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทลื้อ[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *selꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เส้น, ภาษาลาว ເສັ້ນ (เสั้น), ภาษาเขิน ᩈᩮ᩠᩶ᨶ (เส้น), ภาษาไทใหญ่ သဵၼ်ႈ (เส้น), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥢᥲ (เส้น), ภาษาแสก แซ̂น; เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC sjenH)

คำนาม[แก้ไข]

ᦉᦲᧃᧉ (สี้น) (อักษรไทธรรม ᩈᩥ᩠᩶ᨶ)

  1. เส้น (สิ่งที่มีลักษณะเป็นสาย)
  2. อาหารเส้น เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยวหรือเส้นบะหมี่

คำลักษณนาม[แก้ไข]

ᦉᦲᧃᧉ (สี้น)

  1. เส้น

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ซิ่น, ภาษาลาว ສິ້ນ (สิ้น), ภาษาอีสาน สิ้น, ภาษาไทดำ ꪎꪲ꫁ꪙ (สิ้น), ภาษาคำเมือง ᩈᩥ᩠᩶ᨶ (สิ้น), ภาษาเขิน ᩈᩥ᩠᩶ᨶ (สิ้น), ภาษาไทใหญ่ သိၼ်ႈ (สิ้น), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥢᥲ (สี้น), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜃𑜫 (สิน์)

คำนาม[แก้ไข]

ᦉᦲᧃᧉ (สี้น) (อักษรไทธรรม ᩈᩥ᩠᩶ᨶ, คำลักษณนาม ᦕᦹᧃ)

  1. ซิ่น
  2. กระโปรง
  3. ชุดของผู้หญิง