ข้ามไปเนื้อหา

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+7F36, 缶
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-7F36

[U+7F35]
CJK Unified Ideographs
[U+7F37]
U+2F78, ⽸
KANGXI RADICAL JAR

[U+2F77]
Kangxi Radicals
[U+2F79]

ภาษาร่วม

[แก้ไข]

อักษรจีน

[แก้ไข]

(รากคังซีที่ 121, +0, 6 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 人十山 (OJU), การป้อนสี่มุม 80772)

อ้างอิง

[แก้ไข]
  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 944 อักขระตัวที่ 26
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 28108
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 1385 อักขระตัวที่ 1
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 5 หน้า 2935 อักขระตัวที่ 1
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+7F36

ภาษาจีน

[แก้ไข]
ตัวย่อและตัวเต็ม
รูปแบบอื่น 𦈢𦈢
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:

ที่มาของอักขระ

[แก้ไข]
รูปในอดีตของตัวอักษร
ร. ชาง ยุควสันตสารท ซัวเหวินเจี่ยจื้อ (แต่งใน ร. ฮั่น) ลิ่วซูถ่ง (แต่งใน ร. หมิง)
อักษรกระดูกเสี่ยงทาย รอยจารึกสัมฤทธิ์ อักษรประทับเล็ก อักษรโบราณคัดลอก

แม่แบบ:liushu – หม้อที่มีฝาปิด

การออกเสียง

[แก้ไข]

สัมผัส
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/1
ต้นพยางค์ () (1)
ท้ายพยางค์ () (136)
วรรณยุกต์ (調) Rising (X)
พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open
ส่วน () III
ฝ่านเชี่ย
แบกซเตอร์ pjuwX
การสืบสร้าง
เจิ้งจาง ซ่างฟาง /pɨuX/
พาน อู้ยฺหวิน /piuX/
ซ่าว หรงเฟิน /piəuX/
เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /puwX/
หลี่ หรง /piuX/
หวาง ลี่ /pĭəuX/
เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /pi̯ə̯uX/
แปลงเป็นจีนกลาง
ที่คาดหมาย
fǒu
แปลงเป็นกวางตุ้ง
ที่คาดหมาย
fau2
ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/1
ปักกิ่งใหม่
(พินอิน)
fǒu
จีนยุคกลาง ‹ pjuwX ›
จีนเก่า /*p(r)uʔ/
อังกฤษ earthenware

Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

* Parentheses "()" indicate uncertain presence;
* Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
* Angle brackets "<>" indicate infix;
* Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

* Period "." indicates syllable boundary.
ระบบเจิ้งจาง (2003)
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/1
หมายเลข 3266
ส่วนประกอบ
สัทศาสตร์
กลุ่มสัมผัส
กลุ่มย่อยสัมผัส 1
สัมผัสจีนยุคกลาง
ที่สอดคล้อง
จีนเก่า /*puʔ/

คำนาม

[แก้ไข]

  1. หม้อดินหรือขวดสำหรับเก็บเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  2. เครื่องดนตรีสำหรับดนตรีขับร้องประกอบพิธีกรรม

คำประสม

[แก้ไข]

ภาษาญี่ปุ่น

[แก้ไข]

ชินจิไต

คีวจิไต

คันจิ

[แก้ไข]

(โจโยกันจิสามัญชินจิไตกันจิ, รูปคีวจิไต )

  1. หม้อ; กระป๋อง
  2. กระป๋องดีบุก
  3. ภาชนะ
  4. รากสำหรับ โถ, ไห (no. 121)

การอ่าน

[แก้ไข]

คำประสม

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

รากจากภาษาดัตช์ kan (ภาชนะโลหะทรงกระบอก), และอิทธิพลเพิ่มเติมจากภาษาอังกฤษ can (ภาชนะโลหะทรงกระบอก). คันจิเป็นตัวอย่างของ อาเตจิ (当て字) (外来語(がいらいご) (gairaigo)).

คันจิในศัพท์นี้
カン
ระดับ: S
(อาเตจิ)
อนโยมิ
การสะกดแบบอื่น
(คีวจิไต)

การออกเสียง

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

(かん) (kan

  1. กระป๋อง

ลักษณะนาม

[แก้ไข]

(かん) (-kan

  1. ลักษณะนามของสินค้าประเภทกระป๋อง

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

จากภาษาญี่ปุ่นเก่า kama, หมายถึงภาชนะบรรจุสำหรับความร้อนสูง สามารถเรียกได้ว่าเป็น hearth, oven, pot, kettle.

คันจิในศัพท์นี้
かま
ระดับ: S
คุนโยมิ
การสะกดแบบอื่น
(คีวจิไต)

การออกเสียง

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

(かま) (kama

  1. หม้อน้ำ สำหรับเครื่องยนต์ไอน้ำ
การใช้
[แก้ไข]

kama มักจะเขียนด้วยคันจิ .

คำพ้องความ
[แก้ไข]