สหาย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ปรากฏครั้งแรกในจารึกวัดศรีชุม ประมาณ ค.ศ. 1341-1367 (พ.ศ. 1884-1910); เป็นไปได้ว่ายืมมาจากภาษาเขมรกลาง សហាយ (สหาย), จากภาษาสันสกฤต सहाय (สหาย, “เพื่อน; ผู้ติดตาม”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สะ-หาย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-hǎai |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-hai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.haːj˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]สหาย
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) sahāya
- (อักษรพราหมี) 𑀲𑀳𑀸𑀬 (สหาย)
- (อักษรเทวนาครี) सहाय (สหาย)
- (อักษรเบงกอล) সহায (สหาย)
- (อักษรสิงหล) සහාය (สหาย)
- (อักษรพม่า) သဟာယ (สหาย) หรือ သႁႃယ (สหาย)
- (อักษรไทย) สะหายะ
- (อักษรไทธรรม) ᩈᩉᩣᨿ (สหาย)
- (อักษรลาว) ສຫາຍ (สหาย) หรือ ສະຫາຍະ (สะหายะ) หรือ ສະຫາຢະ (สะหาอยะ)
- (อักษรเขมร) សហាយ (สหาย)
- (อักษรจักมา)
คำนาม
[แก้ไข]สหาย ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "สหาย" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | สหาโย | สหายา |
กรรมการก (ทุติยา) | สหายํ | สหาเย |
กรณการก (ตติยา) | สหาเยน | สหาเยหิ หรือ สหาเยภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | สหายสฺส หรือ สหายาย หรือ สหายตฺถํ | สหายานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | สหายสฺมา หรือ สหายมฺหา หรือ สหายา | สหาเยหิ หรือ สหาเยภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | สหายสฺส | สหายานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | สหายสฺมิํ หรือ สหายมฺหิ หรือ สหาเย | สหาเยสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | สหาย | สหายา |
คำพ้องความ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค สห
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย