อนุช
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี อนุช (“ผู้เกิดภายหลัง”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อะ-นุด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | à-nút |
ราชบัณฑิตยสภา | a-nut | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔa˨˩.nut̚˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อนุช
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]อนุ + ช หรือ อนุ + ชนฺ + กฺวิ
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]อนุช ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "อนุช" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | อนุโช | อนุชา |
กรรมการก (ทุติยา) | อนุชํ | อนุเช |
กรณการก (ตติยา) | อนุเชน | อนุเชหิ หรือ อนุเชภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | อนุชสฺส หรือ อนุชาย หรือ อนุชตฺถํ | อนุชานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | อนุชสฺมา หรือ อนุชมฺหา หรือ อนุชา | อนุเชหิ หรือ อนุเชภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | อนุชสฺส | อนุชานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | อนุชสฺมิํ หรือ อนุชมฺหิ หรือ อนุเช | อนุเชสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | อนุช | อนุชา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/ut̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค อนุ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ช
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย กฺวิ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย