เบิ่ง
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เบ่ง
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาอีสาน เบิ่ง, จากภาษาจีนยุคกลาง 望 (MC mjang|mjangH) (ซึ่งเป็นรากของภาษาไทย มอง อีกด้วย)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | เบิ็่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bə̀ng |
ราชบัณฑิตยสภา | boeng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /bɤŋ˨˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เบิ่ง (คำอาการนาม การเบิ่ง)
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษาจีนยุคกลาง 望 (MC mjang|mjangH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มอง, ภาษาลาว ເບິ່ງ (เบิ่ง) และ ມອງ (มอง), ภาษาไทลื้อ ᦙᦸᧂ (มอ̂ง), ภาษาไทใหญ่ မွင်း (ม๊อ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)
คำกริยา
[แก้ไข]เบิ่ง (คำอาการนาม การเบิ่ง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอีสาน
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอีสาน
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɤŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาภาษาอีสาน