เมื่อย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *mɯəjᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เมื่อย, ภาษาลาว ເມື່ອຍ (เมื่อย), ภาษาคำเมือง ᨾᩮᩬᩥ᩠᩵ᨿ (เมอิ่ย) หรือ ᨾᩮᩥ᩠᩵ᨿ (เมิ่ย), ภาษาเขิน ᨾᩮᩨ᩠᩵ᨿ (เมื่ย), ภาษาไทลื้อ ᦵᦙᧀᧈ (เมิ่ย), ภาษาไทดำ ꪹꪣ꪿ꪥ (เม่ย), ภาษาไทขาว ꪝꪷꪥꫀ, ภาษาไทใหญ่ မူၺ်ႈ (มู้ญ), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜩 (มอ̂ย์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mweih
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เมื่อย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mʉ̂ai |
ราชบัณฑิตยสภา | mueai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /mɯa̯j˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เมื่อย (คำอาการนาม การเมื่อย หรือ ความเมื่อย)
- (อกรรม) อาการเพลียของกล้ามเนื้อเมื่อทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งซ้ำ ๆ อยู่เป็นเวลานาน
- เดินอยู่นานจนเมื่อย
- เมื่อยมือเพราะเขียนหนังสือนาน
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]เมื่อย (คำอาการนาม การเมื่อย หรือ ความเมื่อย)