ไหว

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ไหว้

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.wajᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩱ (หไว), ภาษาลาว ໄຫວ (ไหว), ภาษาไทดำ ꪼꪪ (ไหฺว), ภาษาไทลื้อ ᦺᦛ (ไหฺว), ภาษาไทใหญ่ ဝႆ (ไว), ภาษาพ่าเก ဝႝ (วย์), ภาษาอาหม *𑜈𑜩 (*บย์), ภาษาจ้วงแบบหนง vae, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง vaej

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ไหฺว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงwǎi
ราชบัณฑิตยสภาwai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/waj˩˩˦/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

ไหว (คำอาการนาม การไหว หรือ ความไหว)

  1. สั่น, สะเทือน, กระดิก
    ใบไม้ไหว

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

ไหว (คำอาการนาม ความไหว)

  1. สามารถทำได้,มีแรงให้ทำ
    เดินไหว
    สู้ไหว
    กินไหว

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ไหว (คำอาการนาม ก๋ารไหว หรือ ก๋านไหว)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᩅᩱ (หไว)