ข้ามไปเนื้อหา

ᦉᦲᧃ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทลื้อ

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC dzjen, “เงินตรา”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สิน, ภาษาคำเมือง ᩈᩥ᩠ᨶ (สิน), ภาษาลาว ສິນ (สิน), ภาษาไทใหญ่ သိၼ် (สิน)

คำนาม

[แก้ไข]

ᦉᦲᧃ (สีน)

  1. สิน (เงิน, ทรัพย์)

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ᦉᦲᧃ (สีน)

  1. ศีล
    ᦔᦲᧃ ᦅᦳᧃ ᦠᦹᧉ ᦙᦲ ᦉᧆᦈ, ᦔᦲᧃ ᦘᦰ ᦠᦹᧉ ᦙᦲ ᦉᦲᧃ
    ปีน คุน หื้ มี สัดจ, ปีน ภะ หื้ มี สีน
    เป็นคนให้มีสัจจะ เป็นพระให้มีศีล

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สิน, ภาษาคำเมือง ᩈᩥ᩠ᨶ (สิน), ภาษาลาว ສີນ (สีน), ภาษาเขิน ᩈᩥ᩠ᨶ (สิน), ภาษาไทใหญ่ သိၼ် (สิน), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥢᥴ (สี๋น)

คำกริยา

[แก้ไข]

ᦉᦲᧃ (สีน) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦉᦲᧃ)

  1. สิน, ตัด, ฟัน

รากศัพท์ 4

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ သဵၼ် (เสน), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥢᥴ (เส๋น), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜃𑜫 (สิน์)

คำกริยา

[แก้ไข]

ᦉᦲᧃ (สีน) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦉᦲᧃ)

  1. กระเด็น
    ᦝᦱᧂᧉᦑᦰ ᦓᧄᧉ ᦉᦲᧃ ᦃᧁᧉ ᦺᦓ ᦷᦠ ᦈᧅ ᦝᦱᧉᦎᦳᧂᧈᦋᦲᧈ
    ฟ้างทะ นั้ม สีน เฃ้า ไน โห จัก ฟ้าตุ่งชี่
    ป้องกันน้ำกระเด็นเข้าในหัวจักรมอเตอร์
  2. เด้ง