𑜍𑜥
ภาษาอาหม
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *truəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หัว, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩫ (หว็), ภาษาลาว ຫົວ (ห็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦠ (โห), ภาษาไทดำ ꪬꪺ (หัว), ภาษาไทใหญ่ ႁူဝ် (หูว)
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]𑜍𑜥 • (รู)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rɯːwꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย รู้, ภาษาคำเมือง ᩁᩪ᩶ (รู้), ภาษาอีสาน ฮู้, ภาษาลาว ຮູ້ (ฮู้), ภาษาไทลื้อ ᦣᦴᧉ (ฮู้), ภาษาไทดำ ꪭꪴ꫁ (ฮุ้), ภาษาไทใหญ่ ႁူႉ (หู๎), ภาษาจ้วง rox,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง rux, ภาษาแสก รอ
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- 𑜍𑜤𑜈𑜫 (รุว์)
คำกริยา
[แก้ไข]𑜍𑜥 • (รู)
รากคำศัพท์ 3
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ruːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย รู, ภาษาคำเมือง ᩁᩪ (รู), ภาษาลาว ຮູ (ฮู), ภาษาไทลื้อ ᦣᦴ (ฮู), ภาษาไทดำ ꪭꪴ (ฮุ), ภาษาไทใหญ่ ႁူး (หู๊)
คำนาม
[แก้ไข]𑜍𑜥 • (รู)
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *krwɯːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หู, ภาษาคำเมือง ᩉᩪ (หู), ภาษาลาว ຫູ (หู), ภาษาไทลื้อ ᦠᦴ (หู), ภาษาไทใหญ่ ႁူ (หู), ภาษาเขิน ᩉᩪ (หู), ภาษาไทดำ ꪬꪴ (หุ), ภาษาไทใต้คง ᥞᥧᥴ (หู๋), ภาษาอ่ายตน ꩭူ (หู), ภาษาจ้วง rwz,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hu
คำนาม
[แก้ไข]𑜍𑜥 • (รู)