สติ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี สติ, จากภาษาสันสกฤต स्मृति (สฺมฺฤติ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร សតិ (สติ), ภาษาลาว ສະຕິ (สะติ), ภาษาไทใหญ่ သတီႉ (สตี๎), သတိ (สติ); ร่วมรากกับ สมฤดี (รูปหนึ่ง)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สะ-ติ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-dtì |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-ti | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.tiʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]สติ
- ความรู้สึก, ความรู้สึกตัว
- ได้สติ
- ฟื้นคืนสติ
- สิ้นสติ
- ความรู้สึกผิดชอบ
- มีสติ
- ไร้สติ
- ความระลึกได้
- ตั้งสติ
- กำหนดสติ
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สรฺ + ติ; จากภาษาสันสกฤต/สันสกฤตพระเวท स्मृति (สฺมฺฤติ)
คำนาม
[แก้ไข]สติ ญ.
- สติ, ความระลึกได้
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "สติ" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | สติ | สติโย หรือ สตี |
กรรมการก (ทุติยา) | สติํ | สติโย หรือ สตี |
กรณการก (ตติยา) | สติยา | สตีหิ หรือ สตีภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | สติยา | สตีนํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | สติยา หรือ สตฺยา | สตีหิ หรือ สตีภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | สติยา | สตีนํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | สติยา หรือ สติยํ หรือ สตฺยํ | สตีสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | สติ | สติโย หรือ สตี |
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ดูรากศัพท์ที่คำหลัก
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]สติ
- อธิกรณการก เอกพจน์ เพศชาย/เพศกลางของ สนฺต, ปัจจุบันกาล กรรตุวาจก พาร์ทิซิเพิลของ อตฺถิ (“to be”)
- สัมโพธนการก เอกพจน์ เพศหญิงของ สนฺต, ปัจจุบันกาล กรรตุวาจก พาร์ทิซิเพิลของ อตฺถิ (“to be”)
คำกริยา
[แก้ไข]สติ
- อธิกรณการก เอกพจน์ เพศชาย/เพศกลางของ สนฺต, ปัจจุบันกาล กรรตุวาจก พาร์ทิซิเพิลของ อตฺถิ (“to be”)
- สัมโพธนการก เอกพจน์ เพศหญิงของ สนฺต, ปัจจุบันกาล กรรตุวาจก พาร์ทิซิเพิลของ อตฺถิ (“to be”)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- สัมผัส:ภาษาไทย/iʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ติ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤตพระเวท
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย
- รูปผันภาษาบาลี
- รูปผันคำคุณศัพท์ภาษาบาลี
- รูปผันคำกริยาภาษาบาลี