อารมณ์
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากบาลี อารมฺมณ (“พื้นฐาน, สิ่งค้ำจุน, รากฐาน; เหตุ, ที่มา, ปัจจัย”); เทียบสันสกฤต आलम्बन (อาลมฺพน, “ฐาน, พื้นฐาน”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อา-รม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | aa-rom |
ราชบัณฑิตยสภา | a-rom | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔaː˧.rom˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อารมณ์
- สิ่งที่ยึดหน่วงจิตโดยผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
- รูปเป็นอารมณ์ของตา
- เสียงเป็นอารมณ์ของหู
- เครื่องยึดถือเป็นจริงเป็นจัง
- เรื่องนี้อย่าเอามาเป็นอารมณ์เลย
- ความรู้สึกทางใจที่เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้า
- อารมณ์รัก
- อารมณ์โกรธ
- อารมณ์ดี
- อารมณ์ร้าย
- อัธยาศัย, ปรกตินิสัย
- อารมณ์ขัน
- อารมณ์เยือกเย็น
- อารมณ์ร้อน
- ความรู้สึก
- อารมณ์ค้าง
- ใส่อารมณ์
- ความรู้สึกซึ่งมักใช้ไปในทางกามารมณ์
- อารมณ์เปลี่ยว
- เกิดอารมณ์
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (ความรู้สึก): อาเวค
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]สภาพความรู้สึก, ภาวะทางใจ
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]อารมณ์
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/om
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/t+
- จีนกลาง terms with non-redundant manual transliterations
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/t+
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย