กรุณา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากเขมร ករុណា (กรุณา), จากบาลี กรุณา (“ความสงสาร, ความเห็นใจ”), จากสันสกฤต करुणा (กรุณา, “ความสงสาร, (ภาษาพระเวท) การกระทำที่ศักดิ์สิทธิ์”), จาก कृ (กฺฤ)[1]
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กะ-รุ-นา | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gà-rú-naa |
ราชบัณฑิตยสภา | ka-ru-na | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ka˨˩.ru˦˥.naː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]กรุณา
การใช้
[แก้ไข]คำอนุภาค
[แก้ไข]กรุณา
- ใช้ประกอบหน้ากริยาแสดงความขอร้องอย่างสุภาพ
- กรุณาส่ง
- ใช้ร่วมกับคำ พระ เป็นสรรพนามสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน
- กราบบังคมทูลพระกรุณา
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ The Pali Text Society's Pali-English dictionary. The Digital South Asia Library. https://web.archive.org/web/20210725103343/https://dsal.uchicago.edu/dictionaries/pali/
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสันสกฤต/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ไทย entries with incorrect language header
- th:ศาสนาพุทธ
- คำอนุภาคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/t