คาว
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ฅาว
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɣaːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຄາວ (คาว), ภาษาไทลื้อ ᦆᦱᧁ (ฅาว), ภาษาไทใหญ่ ၶႅဝ်း (แข๊ว), ภาษาไทใต้คง ᥑᥦᥝᥰ (แฃ๊ว) หรือ ᥔᥦᥝᥰ (แส๊ว), ภาษาแสก กฺ๊าว; เทียบภาษาไหลดั้งเดิม *kʰaːw
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | คาว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kaao |
ราชบัณฑิตยสภา | khao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰaːw˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]คาว
- กลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งอย่างกลิ่นปลาสดเนื้อสด
- โดยปริยายหมายถึงความเสื่อมเสีย ความมัวหมอง มลทิน
- ราคีคาว
- คนนั้นยังมีคาว
- เรียกกับข้าวว่า ของคาว, คู่กับ ขนม ว่า ของหวาน
ภาษาเขมรเหนือ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kʰaːw/
คำนาม
[แก้ไข]คาว
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่ยืมมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่รับมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขมรเหนือ
- คำนามภาษาเขมรเหนือ