จุด
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | จุด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jùt |
ราชบัณฑิตยสภา | chut | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕut̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย จุด, ภาษาอีสาน จูด, ภาษาคำเมือง ᨧᩪᨯ (จูด), ภาษาเขิน ᨧᩪᨯ (จูด), ภาษาไทลื้อ ᦈᦳᧆᧈ (จุ่ด), ภาษาไทใหญ่ ၸုတ်ႇ (จุ่ต)
คำกริยา
[แก้ไข]จุด (คำอาการนาม การจุด)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน จุด, ภาษาลาว ຈຸດ (จุด), ภาษาเขิน ᨧᩩᨯ (จุด)
คำนาม
[แก้ไข]จุด
- รอยหรือแต้มที่มีลักษณะกลม ๆ ปรากฏที่ผิวพื้น
- เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ . เรียกเต็มว่า มหัพภาค
- ขีด, ระดับ, ขั้น
- จุดเดือด
- จุดเยือกแข็ง
- ที่
- จุดหมาย
- จุดประสงค์
- ประเด็นสำคัญของเรื่องที่พูดหรือถกเถียงกัน เป็นต้น (มักใช้ในเชิงปฏิเสธ)
- พูดไม่ถูกจุด
- ตอบไม่ตรงจุด
คำกริยา
[แก้ไข]จุด (คำอาการนาม การจุด)
- (สกรรม) ทำเครื่องหมายเป็นรอยหรือแต้มที่มีลักษณะกลม ๆ ปรากฏที่ผิวพื้น
- เอาปลายดินสอจุดไว้