หนา

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: หนำ และ หน้า

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์หฺนา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnǎa
ราชบัณฑิตยสภาna
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/naː˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩣ (หนา), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨶᩣ (หนา), ภาษาลาว ໜາ (หนา), ภาษาไทลื้อ ᦐᦱ (หฺนา), ภาษาไทดำ ꪘꪱ (หฺนา), ภาษาไทขาว ꪘꪱ, ภาษาตั่ย na, ภาษาไทใหญ่ ၼႃ (นา), ภาษาไทใต้คง ᥘᥣᥴ (ล๋า) หรือ ᥢᥣᥴ (น๋า), ภาษาอ่ายตน ꩫႃ (นา), ภาษาพ่าเก ꩫႃ (นา), ภาษาอาหม 𑜃𑜡 (นา), ภาษาปู้อี nal, ภาษาจ้วง na; เทียบภาษาสุ่ย qnal, ภาษาต้งใต้ nal, ภาษาไหลดั้งเดิม *C-naː

คำนาม[แก้ไข]

หนา

  1. ส่วนสูงมากจากผิวพื้น

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

หนา (คำอาการนาม ความหนา)

  1. มีส่วนสูงมากจากผิวพื้น
  2. แน่นทึบ, มาก
คำตรงข้าม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

เกี่ยวข้องกับ นะ

คำอนุภาค[แก้ไข]

หนา

  1. คำประกอบท้ายคำอื่นที่มีความหมายไปในเชิงบังคับหรืออ้อนวอน
    อยู่เถิดหนา