เงี่ยง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨦ᩠ᨿ᩵ᨦ (งย่ง), ภาษาลาว ງ່ຽງ (ง่ย̂ง), ภาษาไทใหญ่ ငဵင်ႈ (เง้ง) หรือ ၺဵင်ႈ (เญ้ง)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เงี่ยง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ngîiang |
ราชบัณฑิตยสภา | ngiang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ŋia̯ŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เงี่ยง
- กระดูกแหลมของปลาบางชนิด
- ปลากระเบนมีเงี่ยงที่โคนหาง
- ปลาดุกมีเงี่ยงที่ครีบอก
- แง่ของสิ่งของบางอย่าง มีรูปหยักตอนปลายเช่นเบ็ดหรือลูกศร
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ງ້ຽງ (ง้ย̂ง)
คำนาม
[แก้ไข]เงี่ยง