เชื่อ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɟɯəᴮ; เทียบจีนยุคกลาง 貰 (MC zyaeH, “ยืม; กู้ (เงิน)”) และ 賒 (MC syae, “ซื้อขายด้วยสินเชื่อ”); ร่วมเชื้อสายกับอีสาน เซื่อ, ลาว ເຊື່ອ (เซื่อ), คำเมือง ᨩᩮᩬᩥ᩵ᩋ (เชอิ่อ), เขิน ᨩᩮᩬᩨ᩵ (เชอื่), ไทลื้อ ᦵᦋᦲᧈ (เชี่), ไทดำ ꪹꪋ꪿ (เจ่̱), ไทใหญ่ ၸိူဝ်ႈ (เจิ้ว), อาหม 𑜋𑜥 (ฉู), จ้วง cwh (“เชื่อใจ”) หรือ si, จ้วงแบบจั่วเจียง sie
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เชื่อ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chʉ̂ʉa |
ราชบัณฑิตยสภา | chuea | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰɯa̯˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เชื่อ (คำอาการนาม การเชื่อ หรือ ความเชื่อ)
ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]มั่นใจ
คำสืบทอด
[แก้ไข]- → เขมร: ជឿ (เชือ)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕɯa˦˨/
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำอกรรมกริยาภาษาคำเมือง
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง