เถ้าแก่
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) เฒ่าแก่
รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาแต้จิ๋ว 頭家/头家 (tao5 gê1)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ថៅកែ (เถาแก), ภาษาลาว ເຖົ້າແກ່ (เถ็้าแก่)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เท่า-แก่ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tâo-gɛ̀ɛ |
ราชบัณฑิตยสภา | thao-kae | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰaw˥˩.kɛː˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เถ้าแก่
- ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น
- ชายจีนที่เป็นผู้ใหญ่และมีฐานะดี
- ชายจีนที่เป็นเจ้าของกิจการ
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Joanna Rose McFarland (2021), chapter Chapter 3: Language Contact and Lexical Changes in Khmer and Teochew in Cambodia and Beyond, in Chia, Caroline; Hoogervorst, Tom, editors, Sinophone Southeast Asia: Sinitic Voices across the Southern Seas (Chinese Overseas: History, Literature, and Society; 20 [Open Access])[1], Brill, →ISBN, page 104