เห็นกงจักรเป็นดอกบัว
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เห็น + กงจักร + เป็น + ดอกบัว; จากนิทานชาดก "มิตวินทุกะ" ซึ่งเป็นผู้มีบาปหนา เมื่อจะได้รับโทษตามกรรมก็มองเห็นกงจักรบนหัวเปรตตนหนึ่งว่าเป็นดอกบัว จึงขอมาใส่บนหัวตนเอง ทำให้ได้รับทุกข์ทรมานจากกงจักรที่หมุนบาดหัวอยู่ตลอดเวลา ชาดกนี้เป็นที่มาของสำนวนว่า "เห็นกงจักรเป็นดอกบัว"[1]
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เห็น-กง-จัก-เป็น-ดอก-บัว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hěn-gong-jàk-bpen-dɔ̀ɔk-buua |
ราชบัณฑิตยสภา | hen-kong-chak-pen-dok-bua | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /hen˩˩˦.koŋ˧.t͡ɕak̚˨˩.pen˧.dɔːk̚˨˩.bua̯˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เห็นกงจักรเป็นดอกบัว
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ 4 เมษายน 2556, กงจักร โดยสำนักงานราชบัณฑิตยสภา.