โพธิสตฺต
หน้าตา
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) bodhisatta
- (อักษรพราหมี) 𑀩𑁄𑀥𑀺𑀲𑀢𑁆𑀢 (โพธิสตฺต)
- (อักษรเทวนาครี) बोधिसत्त (โพธิสตฺต)
- (อักษรเบงกอล) বোধিসত্ত (โพธิสตฺต)
- (อักษรสิงหล) බොධිසත්ත (โพธิสต₊ฺต)
- (อักษรพม่า) ဗောဓိသတ္တ (โพธิสตฺต) หรือ ၿေႃꩪိသတ္တ (โพธิสตฺต) หรือ ၿေႃꩪိသတ်တ (โพธิสต์ต)
- (อักษรไทย) โพธิสัตตะ
- (อักษรไทธรรม) ᨻᩮᩣᨵᩥᩈᨲ᩠ᨲ (โพธิสตฺต)
- (อักษรลาว) ໂພຘິສຕ຺ຕ (โพธิสตฺต) หรือ ໂພຘິສັຕຕະ (โพธิสัตตะ)
- (อักษรเขมร) ពោធិសត្ត (โพธิสตฺต)
- (อักษรจักมา)
รากศัพท์
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]โพธิสตฺต ช.
- สัตว์ (มนุษย์) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
- โพธิสัตว์, สัตว์ (มนุษย์) ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "โพธิสตฺต" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | โพธิสตฺโต | โพธิสตฺตา |
กรรมการก (ทุติยา) | โพธิสตฺตํ | โพธิสตฺเต |
กรณการก (ตติยา) | โพธิสตฺเตน | โพธิสตฺเตหิ หรือ โพธิสตฺเตภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | โพธิสตฺตสฺส หรือ โพธิสตฺตาย หรือ โพธิสตฺตตฺถํ | โพธิสตฺตานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | โพธิสตฺตสฺมา หรือ โพธิสตฺตมฺหา หรือ โพธิสตฺตา | โพธิสตฺเตหิ หรือ โพธิสตฺเตภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | โพธิสตฺตสฺส | โพธิสตฺตานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | โพธิสตฺตสฺมิํ หรือ โพธิสตฺตมฺหิ หรือ โพธิสตฺเต | โพธิสตฺเตสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | โพธิสตฺต | โพธิสตฺตา |