ᦈᧇ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- ᦶᦈᧇ (แจบ)
รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย จับ, ภาษาลาว ຈັບ (จับ), ภาษาคำเมือง ᨧᩢ᩠ᨷ (จับ), ภาษาเขิน ᨧᩢ᩠ᨷ (จับ), ภาษาไทใหญ่ ၸပ်း (จั๊ป)
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡sap̚˧˥/
คำกริยา
[แก้ไข]ᦈᧇ (จับ) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦈᧇ)
- (สกรรม) จับ, แตะ
- (สกรรม) จับ, กุม
- (สกรรม) จับ, เกาะ
- (สกรรม) ยิงถูกเป้า, ยิงโดนเป้า
- (สกรรม) ติด (เชื้อโรค)
- (อกรรม) เป็น, เป็นอย่างแน่วแน่
- (สกรรม) สอดคล้อง, เห็นพ้อง, ลงรอย
- (สกรรม) ออกผล
ลูกคำ
[แก้ไข]จับ
- ᦈᧇᦺᦈ (จับไจ)
- ᦈᧇᦉᦹᧇᧈ (จับสื่บ)
- ᦈᧇᦶᦋᧃ (จับแชน)
- ᦈᧇᦍᦲᧃ (จับยีน)
- ᦈᧇᦍᧇ (จับยับ)
- ᦈᧇᦘᦸᦰ (จับภอ̂ะ)
- ᦈᧇᦶᦙᧃᧈ (จับแม่น)
- ᦈᧇᦙᦹ (จับมื)
- ᦈᧇᦺᦝ (จับไฟ)
- ᦈᧇᦟᦱᧄ (จับลาม)
- ᦈᧇᦣᦲᧆᦶᦙᧃᧈᦅᦸᧂ (จับฮีดแม่นคอ̂ง)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦉᦹᧇᧈᦈᧇ (สื่บจับ)
- ᦍᧇᦈᧇ (ยับจับ)
- ᦎᦳᧂᧈᦙᦱᦈᦱᦈᧇ (ตุ่งมาจาจับ)
- ᦎᦸᦰᦈᧇ (ตอ̂ะจับ)
- ᦏᦹᦈᧇ (ถืจับ)
- ᦑᦲᦰᦈᧇ (ทีะจับ)
- ᦗᦱᧃᦈᧇ (พานจับ)
- ᦘᦰᦍᦱᧆᦟᦱᧄᦈᧇ (ภะยาดลามจับ)
- ᦶᦘᧈᦟᦱᧄᦈᧇ (แภ่ลามจับ)
- ᦟᦱᧄᦈᧇ (ลามจับ)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ᦈᧇ (จับ) (คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦈᧇ)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ᦈᧇ (จับ) (คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦈᧇ)