𑜁𑜨𑜧

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาอาหม[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *xaːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขาว, ภาษาคำเมือง ᨡᩣ᩠ᩅ (ขาว), ภาษาลาว ຂາວ (ขาว), ภาษาไทลื้อ ᦃᦱᧁ (ฃาว), ภาษาไทดำ ꪄꪱꪫ (ฃาว), ภาษาไทใหญ่ ၶၢဝ် (ขาว), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥝᥴ (ฃ๋าว), ภาษาจ้วง hau, ภาษาปู้อี haaul, ภาษาแสก ห่าว

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. ขาว

คำกริยา[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. ทำให้ขาว

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

เทียบภาษาไทใหญ่ ၶဝ် (ขว), ภาษาไทย เขา

คำสรรพนาม[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. เขา (บุคคล)

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *qawᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เขา, ภาษาคำเมือง ᨡᩮᩢᩣ (เขัา), ภาษาลาว ເຂົາ (เข็า), ภาษาไทลื้อ ᦃᧁ (เฃา), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ် (ขว)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. เขา (ของสัตว์)

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.qawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ข้าว, ภาษาคำเมือง ᨡᩮᩢ᩶ᩣ (เขั้า), ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทลื้อ ᦃᧁᧉ (เฃ้า), ภาษาไทดำ ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาพ่าเก ၵွ် (เขา), ภาษาจ้วง haeux, ภาษาแสก เกฺา

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. ข้าว

รากศัพท์ 5[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. น้ำหนักของร่างกาย

รากศัพท์ 6[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. ความประสงค์, ความปรารถนา

รากศัพท์ 7[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *χawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เข้า, ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทลื้อ ᦃᧁᧉ (เฃ้า), ภาษาไทดำ ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า), ภาษาไทใต้คง ᥑᥝᥲ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาจ้วง haeuj

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. เข้า

รากศัพท์ 8[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์)

  1. สว่าง