บาย

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: บายฺู และ บ่าย

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์บาย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbaai
ราชบัณฑิตยสภาbai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/baːj˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาเขมร បាយ (บาย, ข้าว)

คำนาม[แก้ไข]

บาย

  1. ข้าว
คำประสม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ bye (บาย, คู่แข่งที่ถอนตัว)

คำกริยา[แก้ไข]

บาย

  1. (ภาษาปาก) ถอนตัวจากการแข่งขัน
    การแข่งขันวันนี้ผมบายเพราะป่วย
คำประสม[แก้ไข]

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ bye (บาย, ลาก่อน)

คำอุทาน[แก้ไข]

บาย

  1. (ภาษาเด็ก) คำกล่าวแสดงการลา

คำกริยา[แก้ไข]

บาย

  1. (ภาษาปาก, ภาษาเด็ก) บอกลา
  2. (ภาษาปาก) ไม่ยุ่งเกี่ยว, ไม่เกี่ยวข้อง
    ถ้ายุ่งกันอย่างนี้ ฉันท่าจะต้องบาย
    ม.นครพนม ปัญหาลามบานปลาย คณะบุคคลถอดใจขอบาย
ดูเพิ่ม[แก้ไข]

ภาษาเขมรเหนือ[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

เทียบภาษาเขมร បាយ (บาย)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

บาย

  1. ข้าวสุก

ภาษาญัฮกุร[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาไทย บ่าย

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

บาย

  1. บ่าย

ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

บาย (คำอาการนาม ขว่ามบาย)

  1. สบาย